การเคลื่อนที่แนวราบ
การคำนวณหาความสัมพันธ์ ระหว่าง ความเร็วต้น (u) ความเร็วปลาย (V) ความเร่ง (a) เวลา (t) การกระจัด (s) เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่
1. ความสัอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ การตกอย่างอิสระวัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งค่าหนึ่ง เรียกว่าความเร่งโน้มถ่วง (Gravitational acceleration) เขียนแทนด้วย g ซึ่งมีค่า g = 9.80665 m/s^2 แต่ใช้ค่าประมาณ 9.8 หรือ 10 m/s^2 ในการคำนวณสมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การเคลื่อนที่ในแอ่านเพิ่มเติม
การหาแรงลัพธ์
วิธีการหาแรงลัพธ์ มี 2 วิธี
1. การเขียนรูป (โดยแทนแรงด้วยลูกศร )
ใช้หางต่อหัว คือเอาหางของลูกศรที่แทนแรงที่ 2 มาต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 1
แล้วเอาหางลูกศรที่แทนแรงที่ 3 มาต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 2 .....ต่อกันไปจนหมด
โดยทิศของลูกศรที่แทนแรงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
ขนาดของแรงลัพธ์คือ ความยาวลูกศรที่ลากจากจุดเริ่มต้น ไปยังจุดสุดท้าย
มีทิศจากจุดเริ่มต้นไอ่านเพิ่มเติม
1. การเขียนรูป (โดยแทนแรงด้วยลูกศร )
ใช้หางต่อหัว คือเอาหางของลูกศรที่แทนแรงที่ 2 มาต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 1
แล้วเอาหางลูกศรที่แทนแรงที่ 3 มาต่อหัวลูกศรที่แทนแรงที่ 2 .....ต่อกันไปจนหมด
โดยทิศของลูกศรที่แทนแรงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
ขนาดของแรงลัพธ์คือ ความยาวลูกศรที่ลากจากจุดเริ่มต้น ไปยังจุดสุดท้าย
มีทิศจากจุดเริ่มต้นไอ่านเพิ่มเติม
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎของนิวตัน
วันพุธที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559
เลขนัยสำคัญ
เลขนัยสำคัญ ออกสอบมาอีกทีต้องฟัน 3 แต้ม
การสอบ PAT2 ทั้งสองครั้งที่ผ่านมาจะพบว่าในส่วนของฟิสิกส์ มีเรื่องเลขนัยสำคัญออกสอบทุกครั้ง และประเดิมเป็นข้อแรกเสมอ นักเรียนควรจะเก็บ 3 แต้มได้อย่างสบาย เพราะเป็นเรื่องง่าย ๆ อาศัยหลักการความเข้าใจนิดหน่อยก็หาคำตอบได้แล้ว โดยไม่ต้องออกแรงใอ่านเพิ่มเติม
หน่วยอนุพัทธ์
หน่วยอนุพันธ์ (Derived units) เป็นหน่วยซึ่งมีหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกี่ยวข้องกัน เช่น หน่วยของอัตราเร็วเป็น เมตรต่อวินาที ซึ่งมีเมตรและวินาที เป็นหน่วยฐาน หน่วยอนุพันธ์มีหลายหน่วยซึ่งมีชื่อและสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นโดยเฉพาะ
ชื่อหน่วย | สัญลักษณ์ | ปริมาณ | การแสดงออกในรูปหน่วยฐาน |
---|---|---|---|
เฮิรตซ์ | Hz | ความถี่ | s-1 |
นิวตัน | N | แรง | kg m s -2 |
จูล | J | พลังงาน | N m = kg m2 s-2 |
วัตต์ | W | กำลัง | J/s = kg m2 s-3 |
ปาสกาล | Pa | ความดัน | N/m2 = kg m -1 s-2 |
ลูเมน | lm | ฟอ่านเพิ่มเติม |
หน่วยฐาน
♥ หน่วยทางฟิสิกส์♥
👉หน่วยเอสไอ(SI units;Systeme International d’Units)
ระบบหน่วยระหว่างชาติ : การกำหนดมาตรฐานเพื่อเป็นหน่วยกลางทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International Systeme of Units หรือ Systeme-Internnational d’ Unites )และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า “SI” หรือ หน่วยเอสไอ(SI Unit) เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์
ระบบหน่วยระหอ่านเพิ่มเติม
👉หน่วยเอสไอ(SI units;Systeme International d’Units)
ระบบหน่วยระหว่างชาติ : การกำหนดมาตรฐานเพื่อเป็นหน่วยกลางทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า หน่วยระหว่างชาติ (International Systeme of Units หรือ Systeme-Internnational d’ Unites )และกำหนดให้ใช้อักษรย่อแทนชื่อระบบนี้ว่า “SI” หรือ หน่วยเอสไอ(SI Unit) เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์
ระบบหน่วยระหอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)